อ้างอิงจากเส็บไซด์
การอ่านค่าสีตัวต้านทานแบบ 4 แถบสี
การอ่านค่าสีตัวต้านทาน แบบ 4 แถบสี ให้อ่านจากซ้ายมาขวา เช่น "เหลือง ม่วง ส้ม ทอง" แถบสีที่ คือ สีเหลืองแทนด้วยเลข 4 แถบสีที่ 2 แทนด้วยเลข 7 แถบสีที่ 3 คือ ตัวคูณ ดังนั้น สีส้ม หมายถึง ตัวคูณ ×1000 และสีทองคือ ค่าความผิดพลาด ±5% ดังนั้นสามารถอ่านค่าความต้านทานได้ 47×1000 = 47,000 โอห์ม ±5% หรือ 47 กิโลโอห์ม ±5%
การอ่านค่าสีตัวความต้านทานแบบ 5 แถบสี
การอ่านค่าแบบ 5 แถบสี ให้อ่านไล่จากซ้ายมาขวา เช่น "เขียว น้ำตาล ดำ แดง น้ำตาล" สีเขียวคือ หลักแรกแทนด้วยเลข 5 สีน้ำตาลเป็นหลักที่สองแทนด้วยเลข 1 สีดำเป็นหลักที่สามแทนด้วยเลข 0 ต่อมาแถบสีของตัวคูณ สีแดง แทนด้วย ตัวคูณ × 100 และสีน้ำตาลสุดท้ายเป็นค่าความผิดพลาด แทนด้วย ±1% ดังนั้น ค่าที่อ่านได้คือ 510×100 = 51,000 โอห์ม ±1% หรือ 51 กิโลโอห์ม ±1%
หน่วยที่ใช้สำหรับตัวต้านทาน
การเทียบค่าสำหรับตัวต้านทาน
การอ่านค่าความต้านทาน[ออนไลน์] : เข้าถึงได้จาก :
http://www.basiclite.com/web/index.php?topic=62. เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ต้านกระแสไฟฟ้าให้ลดลง มี 2 ประเภท คือ แบบค่าคงที่และแบบปรับค่าได้ ส่วนใหญ่การบอกค่าตัวต้านทานมักดูที่แถบสี เนื่องจากมีขนาดเล็ก ไม่สามารถพิมพ์ค่าลงเป็นตัวเลขได้ การใช้แถบสีแสดงค่าจึงเป็นการอ่านค่า แบบมาตรฐานที่นิยมใช้ทั่วไป โดยกำหนดให้แถบสีที่อยู่ชิดด้านใดด้านหนึ่ง ของตัวต้านทานเป็นแถบที่ 1 แล้วจึงจำทำการอ่านค่าต่อไป โดยในตัวอย่างกำหนดให้แถบสีที่ 1 อยู่ทางซ้ายมือ เวลาอ่านจะไล่จากซ้ายไปขวา
การอ่านค่าสีตัวต้านทานแบบ 4 แถบสี
การอ่านค่าสีตัวต้านทาน แบบ 4 แถบสี ให้อ่านจากซ้ายมาขวา เช่น "เหลือง ม่วง ส้ม ทอง" แถบสีที่ คือ สีเหลืองแทนด้วยเลข 4 แถบสีที่ 2 แทนด้วยเลข 7 แถบสีที่ 3 คือ ตัวคูณ ดังนั้น สีส้ม หมายถึง ตัวคูณ ×1000 และสีทองคือ ค่าความผิดพลาด ±5% ดังนั้นสามารถอ่านค่าความต้านทานได้ 47×1000 = 47,000 โอห์ม ±5% หรือ 47 กิโลโอห์ม ±5%
การอ่านค่าสีตัวความต้านทานแบบ 5 แถบสี
การอ่านค่าแบบ 5 แถบสี ให้อ่านไล่จากซ้ายมาขวา เช่น "เขียว น้ำตาล ดำ แดง น้ำตาล" สีเขียวคือ หลักแรกแทนด้วยเลข 5 สีน้ำตาลเป็นหลักที่สองแทนด้วยเลข 1 สีดำเป็นหลักที่สามแทนด้วยเลข 0 ต่อมาแถบสีของตัวคูณ สีแดง แทนด้วย ตัวคูณ × 100 และสีน้ำตาลสุดท้ายเป็นค่าความผิดพลาด แทนด้วย ±1% ดังนั้น ค่าที่อ่านได้คือ 510×100 = 51,000 โอห์ม ±1% หรือ 51 กิโลโอห์ม ±1%
หน่วยที่ใช้สำหรับตัวต้านทาน
การเทียบค่าสำหรับตัวต้านทาน
โอห์ม ใช้สัญลักษณ์ Ω
1,000 โอห์ม เท่ากับ 1 กิโลโอห์ม
กิโลโอห์ม ใช้สัญลักษณ์ kΩ
1,000 กิโลโอห์ม เท่ากับ 1 เมกะโอห์ม
เมกะโอห์ม ใช้สัญลักษณ์ MΩ
1,000 โอห์ม เท่ากับ 1 กิโลโอห์ม
กิโลโอห์ม ใช้สัญลักษณ์ kΩ
1,000 กิโลโอห์ม เท่ากับ 1 เมกะโอห์ม
เมกะโอห์ม ใช้สัญลักษณ์ MΩ
ตัวต้านทาน คือรีซีสเตอร์ (Resistor) หรือ “อาร์” (R) ซึ่งจะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้กันมากในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ อย่างเช่น วงจรขยายเสียง, วงจรวิทยุ, วงจรเครื่องรับโทรทัศน์ และอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ
แถบ 6 สี จะอ่านค่า 5 แถบสีแรกแบบความต้านทาน 5 แถบสี ส่วนสีที่ 6 คือค่า Temperrature Coefdicient (CT) หรือสัมประสิทธ์ทางอุณหภูมิ มีหน่วยเป็น ppm (part per million : ส่วนในล้านส่วน) เป็นค่าแสดงลักษณะการเปลี่ยนแปลงค่าความต้านทาน เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป
สัญลักษณ์
ตัวความต้านทานแต่ละตัวในวงจร จะมีหน้าที่ที่แตกต่างกันออกไป แต่หน้าที่โดยทั่วไปแล้วตัวความต้านทานจะทำหน้าที่คือ เป็นตัวจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้า และแรงเคลื่อนไฟฟ้า ตามจุดต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในวงจรค่าของตัวความต้านทาน จะมีหน่วยในการวัดเป็น โอห์ม (Ohm)
การอ่านต้านทานแบบ 4 ,5 แถบสี
1.หันแถบสีค่าผิดพลาดไปทางขวามือ ( ลักษณะแถบสีค่าผิดพลาดจะมีระยะห่างจากแถบสีอื่นๆ มากที่สุด และจะเป็นสี น้ำตาล แดง ทอง และเงิน เท่านั้น )
ยกตัวอย่าง ตัวต้านทาน 4 แถบสี ส่วนใหญ่ค่าผิดพลาดคือสีทอง (ค่าผิดพลาด +- 5% )
ยกตัวอย่าง ตัวต้านทาน 5 แถบสี ส่วนใหญ่ค่าผิดพลาดคือสีน้ำตาล (ค่าผิดพลาด +- 1% )
2.การอ่านให้อ่านแถบสีไล่จากซ้ายไปขวา แถบสีที่อยู่ก่อนแถบสีค่าผิดพลาด คือแถบสีตัวคูณ ส่วนแถบสีก่อนหน้านั้นให้นำค่ามาไล่กันตามลำดับ
3.แปลงค่าหน่วยให้อยู่ในรูปของตัวเลขที่อ่านง่าย
ตัวอย่าง
วิธีการอ่าน resistor 5 แถบสีR มีแถบสี น้ำตาล ดำ ดำ ดำ น้ำตาล จะอ่านได้ดังนี้ น้ำตาล(1) ดำ(0) ดำ(0) x ดำ(10e0) = 100x10 =1000 หรือ 1 k Ohmแบบ 6 สี ความต้านทาน
แถบ 6 สี จะอ่านค่า 5 แถบสีแรกแบบความต้านทาน 5 แถบสี ส่วนสีที่ 6 คือค่า Temperrature Coefdicient (CT) หรือสัมประสิทธ์ทางอุณหภูมิ มีหน่วยเป็น ppm (part per million : ส่วนในล้านส่วน) เป็นค่าแสดงลักษณะการเปลี่ยนแปลงค่าความต้านทาน เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป